PAKBARA

May 25, 2017 | Autor: Nitjanan Panapong | Categoria: Ethnic Studies, Media Studies, Race and Ethnicity, Thai Culture, Ethnic Groups in Thailand
Share Embed


Descrição do Produto

ปาก บารา สตูล

ขอขอบคุณ อาจารย์ดํารงพล อินทร์จันทร์ ม๊ะพอง 1 ในกลุ่มผู้นํา 30 คนของโครงการจัดการป่าชายเลน ณ ท่าเรือปากบารา บังจิ๊ ลุงจุก เหริยญเพ็ชร บังสาลอน บังวิเชียรและบังอัศรีย์ รวมไปถึงคุณลุงคุณป้าทุกคนที่พาพวกเราไปเก็บเกี่ยวประสบการณ์ ณ ปากบาราในครั้งนี้

สวัสดีนักอ่านทุกท่านที่พลิกมาหน้านี้ เรามีเรื่องราวและรูปภาพที่น่า สนใจจะมาเปิดโลกกระทัดให้ผอู้ า่ นทุกท่านเห็นมุมมองชีวติ อีกรูปแบบหนึง่ ของอาชีพประมง โดยประมงทีเ่ รานํามาเสนอให้ผอู้ า่ นทุกท่านนัน่ คือ “การ ประมง ณ ปากบารา” หลายคนอาจจะสงสัยว่าปากบารามันคือที่ไหนกัน นะ อธิบายง่ายๆคือ ปากบาราเป็นอําเภอหนึง่ ทีต่ งั้ อยูใ่ นจังหวัดสตูลนัน่ เอง และอําเภอนี้ติดกับทะเลแถมยังเป็นอําเภอท่าเรือที่เราสามารถจะไปเกาะ อื่นๆได้อีกด้วย ในการนําเสนอเรื่องราวต่างๆเราจะให้ผู้อ่านได้เพลิดเพลิน กับภาพถ่ายที่สวยงามที่เราได้ถ่ายมาเอง และข้อมูลดีๆเกี่ยวกับอาชีพการ ประมงของคนที่นี่ว่าพวกเขามีการยังชีพประมงแตกต่างจากที่อื่นหรือไม่ โดยเราจะพูดถึงเรื่องราวของ ปากบารา อุทยานแห่งชาติเกาะเภตรา เกาะ บุโหลนดอน เกาะบุโหลนเล อุปกรณ์การประมง องค์ความรู้ที่ใช้ และรวม ถึงมีการนําเสนอเกร็ดความรูเ้ กีย่ วกับ ภาษาใต้นา่ รู ้ มาเป็นความรูเ้ พิม่ เติมให้ กับผูอ้ า่ นทุกท่านอีกด้วย หากทุกท่านพร้อมแล้ว! เตรียมใส่เสือ้ ชูชพี ให้พร้อม เรากําลังมุง่ หน้าพาผูอ้ า่ นทุกท่านไปทีป่ ากบารา เชิญพลิกหน้าถัดไปได้เลย!

#Teamประมง บรรยายใต้ภาพ ณัฐพล ส่งศิร ิ เรียบเรียงเนื้อหา นิจนันท์ ปาณะพงศ์ ปรีเมธ เดชขุน ชาลิสา พัทรดํารงค์รัตน์ ถ่ายภาพและออกแบบ เพชรไทย ขุนทองจันทร์ วรัญญา กุลวราภรณ์ รัชดาภรณ์ เหมจินดา

01

การประมง

ประมงนํ้าเค็ม : ประเทศไทยของเรามีพื้นที่ มากมายสําหรับทําการประมงประเภทนี้เรียกได้ว่าทุก จั ง หวั ด ตลอดทั้ ง แนวฝั่ ง อ่ า วไทยและอั น ดามั น ล้ ว นมี ความสมบูรณ์ของท้องทะเล เพราะมีแหล่งอนุบาลสัตว์ นํ้าตามธรรมชาติที่มีความอุดมสมบูรณ์อย่างป่าชาย เลน และแนวปะการัง ถึงแม้ว่าก่อนหน้านี้ป่าชายเลน เกือบทั่วประเทศจะถูกบุกรุกพื้นที่เพื่อการทํานากุ้งไป มากมาย แต่ด้วยความสํานึกรักอนุรักษ์ของคนในพื้นที่ หลายๆจังหวัดได้ทําการฟื้นฟูและมีป่าชายเลนเพิ่มขึ้น อย่างรวดเร็ว ทําให้เกิดระบบนิเวศใหม่ๆขึ้นมาไม่เพียง แต่ปลา กุ้ง ปูเท่านั้น ต้นโกงกางและสัตว์อื่นๆก็เพิ่มขึ้น

“การประมง” หรื อ “อาชี พ ประมง” หมายถึ ง การจั ด การของมนุ ษ ย์ ด้ า นการจั บ ปลาหรื อ สั ต ว์ นํ้ า อื่ น ๆ ซึ่ ง ในประเทศไทยเรามี ค วามอุ ด มสมบู ร ณ์ ด้ า นทรั พ ยากรธรรมชาติ ท างทะเล มนุ ษ ย์ จึ ง สร้ า งสรรค์ ให้ เ กิ ด เป็ น การประกอบอาชี พ ที่ ห ลากหลายเพื่ อ ความอยู่ ร อดภายใต้ ส ภาพแวดล้ อ มเช่ น นี้ เช่ น การทํ า ประมงโดยการประมงในประเทศไทยสามารถแบ่ ง ได้ ต ามลั ก ษณะของภู มิ ป ระเทศและตํ า แหน่ ง ที่ ตั้ ง ดั ง นี้

ประมงนํ้าจืด : แม่นํ้าหลายสายในประเทศไทย มีความหลากหลายทางชีวภาพ มีสัตว์นํ้าจืดหลายๆ ชนิดอาศัยอยู่และเป็นอาหารของคนไทยเรามายาวนาน เราสามารถพบการทําประมงนํ้าจืดได้ตามฝั่งของแม่ นํ้าสายสําคัญของแต่ละจังหวัด อย่างเช่นแม่นํ้าสะแก กรั ง ที่ จั ง หวั ด อุ ทั ย ธานี ริ ม ฝั่ ง แม่ นํ้ า เจ้ า พระยาตอน บน แม่ นํ้ า ตรั ง ก่ อ นที่ จ ะไหลลงสู่ ท ะเล และอาจจะ เป็นนํ้ากร่อยส่วนหนึ่งนั่นเอง การประมงเหล่านี้อาจ จะทํ า เพื่ อ ค้ า ขายหรื อ เลี้ ย งปลาไว้ เ พื่ อ บริ โ ภคภายใน ครอบครัวเท่านั้น นอกจากการสร้างกระชังปลาแล้ว ยั ง มี ก ารจั บ ปลาจากใน แหล่ ง นํ้ า ธรรมชาติ อี ก ด้ ว ย

02

ปากบารา “ปากบารา” หรื อ ที่ ช าวปากนํ้ า เรี ย กว่ า “กั ว ลาบารา” เป็ น ภาษามลายู ที่ ป ระกอบด้ ว ย สองคํา “กัวลา” หมายถึงบริเวณปากแม่นํ้า ส่วน “บารา” หมายถึงถ่านไม้ เหตุทไี่ ด้ชอื่ นีเ้ พราะบริเวณ ปากบาราเคยเป็นท่าเรือบรรทุกสินค้าสําคัญคือไม้ และฟืนทีส่ ง่ ไปมาเลเซีย ซึง่ ณ ปัจจุบนั ปากบาราคือ ท่าเรือสําคัญแห่งตําบลปากนํ้า อําเภอระงู จังหวัด สตูล ทีท่ าํ หน้าทีเ่ ป็นจุดกระจายนักท่องเทีย่ วไปเทีย่ ว ยังเกาะต่างๆ เช่น เกาะหลีเป๊ะ เกาะตะรุเตา เป็นต้น

ตำาบลปากน้าำ อำาเภอระงู จังหวัดสตูล

03

เนื่องจากการที่จังหวัดสตูลมีพื้นที่ที่มีระบบนิเวศ ที่น่าอัศจรรย์ ตั้งแต่แนวเกาะไกลสุดเข้ามาจรดชายฝั่ง ซึ่งประกอบด้วยแนวปะการังที่อุดมสมบูรณ์ เกาะน้อย ใหญ่ 104 เกาะ ร่องนํ้าลึกและสันดอนใต้ทะเล จนถึง ป่าชายเลน จึงก่อให้เกิดความหลากหลายทางชีวะภาพ และความอุ ด มสมบู ร ณ์ ข องทรั พ ยากรทางธรรมชาติ ฉะนั้ น คนในพื้ น ที่ ส่ ว นใหญ่ ที่ เ ป็ น ชาวมุ ส ลิ ม จึ ง มี ก าร ประกอบอาชีพหลักๆคือ การทําการประมง นอกจาก การทํ า ประมงของชาวปากบาราที่ อ ยู่ บ นชายฝั่ ง แล้ ว ยั ง มี ก ารทํ า ประมงของชาวเลตามเกาะต่ า งๆอี ก ด้ ว ย

ในที่นี้จักกล่าวถึงชาวเลที่อยู่ในพื้นที่เกาะบูโหลน เลเท่านัน้ ซึง่ แต่กอ่ นการทําประมงของชาวเลจะแตกต่าง จากคนแถบชายฝัง่ เพราะชาวเลจะมีเครือ่ งมือทีผ่ ลิตจาก องค์ความรู้ของพวกเขาเองอย่างมีเอกลักษณ์ในการล่า สัตว์ทะเล นอกจากนี้ยังเป็นการล่าสัตว์ทะเลเพื่อยังชีพ

แต่ ปั จ จุ บั น สั ง คมได้ เ ปลี่ ย นแปลงไปทํ า ให้ ก าร ประมงแบบชาวเลและชาวประมงชายฝั่งคล้ายคลึงกัน มากขึ้น กล่าวคือมีจุดประสงค์ที่จับสัตว์นํ้าไปขายเป็น อาชีพ โดยมีจุดมุ่งหมายที่การค้ามากกว่าการจับเพื่อ มารับประทานกันเองในครอบครัวส่วนวิถีชีวิตของชาว ประมงในเรื่องของภูมิปัญญาชาวบ้าน ไม่ว่าจะในเรื่อง ของ การประดิษฐ์เครื่องมือหาสัตว์นํ้า ช่วงเวลา ฤดูกาล ที่ เ หมาะสมในการออกหาสั ต ว์ น้ํ า แต่ ล ะชนิ ด หรื อ การ จั บ ทิ ศ ลมและตํ า แหน่ ง ที่ เ ดิ น เรื อ สิ่ ง เหล่ า นี้ ล้ ว นเป็ น องค์ความรู้ของผู้คนในท้องถิ่นนี้ทั้งสิ้น ดังนั้นการศึกษา ลงพื้นที่เกี่ยวกับประมงใน ตําบลปากบารา อําเภอระงู จังหวัดสตูล จึงศึกษาหาข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวข้องกับอาชีพ การประมงของผู้คนในพื้นที่นี้ และศึกษาถึงภูมิปัญญา และองค์ความรู้ที่พวกเขาใช้สืบต่อกันมา เพื่อเป็นความ รู้และข้อมูลให้แก่ผู้ที่สนใจในวิถีอันดีงามเหล่านี้ต่อไป

04

ม๊ะเล่าว่า ท่าเรือปากบารานี้เป็นจุดเทียบเรือทั้งเรือท่องเที่ยวเล็กใหญ่และเรือประมงพาณิชย์รวมถึงเรือหัวโทง รายล้อมด้วยป่าชายเลน นอกจากนีย้ งั มีแมงดาทีเ่ ป็นสัญลักษณ์ของการเข้าหน้ามรสุมเพราะเมือ่ ใดทีแ่ มงดามาฟักลูก ในป่าชายเลนแสดงว่ามรสุมกําลังจะมาลูกแมงดานี้เองก็เป็นอาหารชั้นดีของปูม้า

“ป่าชายเลนนี้เป็นทั้งตลาดสด ให้เราได้เลือกกินอาหาร ตามใจชอบและโรงพยาบาลสัตว์ให้สัตว์มาฟักลูก” ม๊ะพอง 1 ในกลุ่มผู้นํา 30 คนของโครงการจัดการป่าชายเลน ณ ท่าเรือปากบารา

05

ในยามเย็ น ที่ ด วงอาทิ ต ย์ ใ กล้ จ ะลาลั บ ฟ้ า ในอี ก ไม่ น าน นํ้ า ทะเลเริ่ ม แห้ ง เหื อ ดตามแสงสารุ ย าพร้ อ ม บรรดาเรื อ ประมงที่ จ อดแช่ ไว้ ที่ ช ายฝั่ ง ท่ า เรื อ บ้ า งเพิ่ ง กลั บ เข้ า ชายฝั่ ง บ้ า งก็ จ อดรอเมื่ อ ถึ ง เวลายามคํ่ า คื น เพื่ อ ที่ จ ะออกไปหาสั ต ว์ ท ะเลท่ า มกลางแสงจั น ทร์ วิ ถี ชี วิ ต ที่ เ ห็ น ได้ ทุ ก วั น ที่ ช ายฝั่ ง ท่ า เรื อ ... ปากบารา

06

07

ขนาบนํา้ ทะเลเค็ม แห่งเกาะท่องเทีย่ วอุทยานแห่งชาติหมูเ่ กาะเภตรา ชายฝัง่ ทีเ่ ป็นท่าเทียบเรือของชาวประมง ก่อนเวลาทีช่ าวประมงจะออกหาสัตว์ทะเลในยามวิกาล ท่ามกลางนํา้ ทะเลเขียวใสทีก่ ลมกลืนกับสีเขียวทึบของป่าบน เกาะ รวมถึงความหลากหลายทางชีวภาพของพืชที่น่าค้นหาในหมู่เกาะแห่งนี้... อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะเภตรา

08

อุทธยานแห่งชาติหมู่เกาะเภรตา

และชง่อนผาซึ่งเกิดจากการ กั ด เซาะพั ง ทลายของคลื่ น ลมและนํ า ขึ้ น นํ า ลง ที่ ร าบ บนเกาะมี เ พี ย งเล็ ก น้ อ ย บริเวณหุบเขาและเป็นหาด ทรายแคบ ๆ สั้น ๆ อยู่ตาม หัวแหลมของเกาะและอ่าว โดยส่ ว นใหญ่ จ ะอยู่ ท าง ด้านทิศตะวันออกของเกาะ

อุ ท ยานแห่ ง ชาติ ห มู่ เ กาะเภตราจั ด ได้ ว่ า มี ค วามหลากหลายซึ่ ง ประกอบด้ ว ยพื้ ที่ นํา ทะเล เกาะ ภู เขา พื้ ที่ ร าบบริ เวณหุ บ เขาและ พื้ น ที่ ร าบชายฝั่ ง ทะเล โดยพื้ น ที่ ช ายฝั่ ง ทะเลและบริ เวณใกล้ เ คี ย งโดยรอบในระยะ 3 กม. จะมี ลั ก ษณะเป็ น ที่ ร าบถึ ง ลู ก คลื่ น ลอนลาดโดย จะมีภูเขาและหย่อมภูเขาปรากฏอยู่เป็นหัวแหลมตามขอบชายฝั่ง พื้นที่ชายฝั่งทะเลประกอบด้วยชายฝั่งหิน หน้าผา ที่ราบนําท่วมถึงและ สันทรายชายหาด ส่วนพื้นที่ในทะเลประกอบด้วยเกาะที่มีขนาดแตกต่างกันประมาณ 22 เกาะ วางตัวในแนวเหนือ-ใต้ เกาะส่วนใหญ่จะมี รูปร่างแปลกตาและมีลักษณะโดดเด่นโดยเป็นเกาะหินปูนมีความลาดชันสูงมากกว่า 35 เปอร์เช็นต์ ปรากฏโพรง ถถํา หลุมยุบ หน้าผาสูงชัน

09

ลุงจุก เหรียญเพ็ชร แจกความสดใส ณ อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะเภตรา

ลุ ง จุ ก เหรี ย ญเพชร หนึ่ ง ในชาว ประมงพื้นบ้านกล่าวว่า ช่วงนี้หน้า มรสุ ม กุ้ ง ปลาก็ จ ะเยอะเป็ น พิ เ ศษ เพราะคลื่นลมไม่ค่อยแรงเท่าตอน กลางวันและช่วงฤดูนี้ (เดือน1) กุ้ง แชบ๊ ว ยจะเยอะ ลุ ง จุ ก จึ ง ใช้ อ วน ขนาด 3.8 เซนติ เ มตรลอยกุ้ ง โดยวางทิ้ ง ไว้ 30 ถึ ง 60 นาที ก็ ยกขึ้ น ได้ แ ล้ ว ลุ ง จุ ก เล่ า เสริ ม อี ก ว่ า เมื่ อ ก่ อ นลุ ง จั บ ได้ 4 ตั ว 5 ตั ว ต่อโล เดี๋ยวนี้หาแบบนั้นไม่ได้แล้ว

“ ลุ ง ร อ นำ้ า ขึ้ น ก่ อ น ค่ อ ย อ อ ก เ รื อ ย่ า ง คำ่ า แ ล้ ว ก ลั บ หั ว เ ช้ า ”

ช่วงเดือน 1 เป็นช่วงที่เหมาะแก่การหาปลากุ้งกลางคืนเพราะกลางวันมีลมตะวันออกพัดแรงจึงควบคุมเรือยาก “ออกตั้งแต่ 6 โมงเย็ น กลั บ อี ก ที หั ว เช้ า จะไปจั บ แถวเกาะตะรุ เ ตา ใช้ อ วนถ่ ว งขนาด 3 เซน 8 บ้ า ง 4 เซน บ้ า งแถวนั้ น ปลาเยอะแล้ ว ก็ ตั ว ใหญ่ ๆ ทั้ ง เพ” ขนาดอวนของลุ ง จุ ก จึ ง เปลี่ ย นไปตามสถานการณ์ โ ดยมี สู ต รการร้ อ ย ทุ่ น และตะกั่ ว แตกต่ า งกั น ไป ของลุ ง จะเป็ น 12 นิ้ ว 15 ตา นั่ น เอง

บังสาลอนนักล่าแห่งปากบารา เช่นเดียวกับบังสาลอนที่นั่งแกะสัตว์ตัวเล็กตัวน้อยออกจากอวน 3 ชั้นของเขา บังบอกว่า “อวน 3 ชั้นนี้ลอยกุ้งดีเพราะกุ้งมันจะไม่ ดีดตัวออกจากอวนได้ง่ายเหมือนอวนอื่น อวนนี้ยิ่งดิ้นมันยิ่งแน่น ฮ่าฮ่าฮ่า” ดังนั้นอวน 3 ชั้นจึงเหมาะแก่การใช้จับกุ้งมากกว่าอวนชนิดอื่น

10

ระหว่างที่บังสาลอนกับภรรยากําลังแกะปลาออกจากอวนอย่างขมักเขม้น มีสิ่งหนึ่งที่ดึงดูดความสนใจเพวกราได้เป็นพิเศษนั่นคือลูกฉลาม ตัวน้อยที่ติดอวนมาด้วย น่าเสียดายที่มันตายเสียแล้ว บังสารอนบอกเราว่า

“นี่แหละชีวิตชาวเลมีทั้งที่ตั้งใจจับและไม่ตั้งใจ” จากนั้ น บั ง ก็ เ ล่ า ว่ า ช่ ว ง นี้ปลาจะเยอะเป็นพิเศษแต่ก็เป็น ช่ ว งอั น ตรายเพราะมี ม รสุ ม ใหญ่ สังเกตได้จาก ‘เมฆ’ เมื่อใดที่เมฆ ขาวรวมตั ว กั น เป็ น ก้ อ นใหญ่ แ ละ ตัง้ ยอดชีข้ นึ้ ฟ้า เมือ่ นัน้ ให้เตรียมตัว กลับบ้านได้เลยเพราะพายุเข้าแน่ๆ ส่วนอวนที่บังถืออยู่นี้คืออวน 3 ชั้น ที่ เ หมาะแก่ ก ารจั บ กุ้ ง มากเพราะ เมื่ อกุ้งแชบ๊ว ยติ ด อวนมั น ก็จะดิ้น ไม่ ห ลุ ด ยิ่ ง ดิ้ น ก็ ยิ่ ง พั น แน่ น นั่ น เอง

11

เมือ่ ได้เดินซึมซับบรรยากาศยามโพล้เพล้รอบๆอุทยานก็พบว่าทีน่ ชี่ า่ งเงียบสงบเหลือเกิน จนอดไม่ได้ทจี่ ะบัน ทึกภาพความทรงจํายามพระอาทิตย์ตกน้าํ นีไ้ ว้ จากนัน้ เราก็ได้พบกับบังจิ ๊ ผูน้ าํ กลุม่ อนุรกั ษ์ปะการังจังหวัดสตูลแห่งนี ้ ผู้ มาพร้อมองค์ความรูท้ แี่ น่นขนัดตัง้ แต่การดูทศิ ทางของลมเพือ่ หาแหล่งทีอ่ ยูจ่ องปลาไปจนถึงกลยุธทธ์วธิ ใี นการจับปลา โดยการฟังเสียงใต้นาํ้ และการกระตุกของเบ็ดก็สามารถรูไ้ ด้แล้วว่าเป็นปลาชนิดไหน เช่น ถ้าตกได้ปลากระเบนมันจะ พยายามดึงเบ็ดลงไปให้ลกึ เพือ่ กลบตัวในทราย คนตกจึงต้องกระตุกเบ็ดเพือ่ ให้ลกู ตะกัว่ ทีผ่ กู อยูก่ บั สายเบ็ดนัน้ ไปโขก ตัวกระเบนสักพักมันก็จะลอยขึน้ มาผิวน้าํ และอีกมากมายหลายชนิด คุยกันมาพอหอมปากหอมคอถึงเวลาต้องแยกย้าย กันแล้ว การพบกันเพียงไม่กนี่ าทีน ี้ แต่อดั แน่นไปด้วยความรูค้ วามประทับใจและความประหลาดใจมากมายเลยทีเดียว

12

ปลาทราย

ก่อนจะออกเดินทางไปยังเกาะบุโหลนดอน พวกเราแวะ เวี ย นมาที่ บ้ า นบั ง วิ เชี ย รขณะกํ า ลั ง ร้ อ ยอวนอยู่ มี เ ครื่ อ งมื อ คื อ ไม้ ดั้ง ดังภาพ ร้อยตะกั่วตามสูตรเฉพาะของครอบครัวโดยใช้ ชุนแทน เข็ม อวนเอ็น 3 เซนครึ่งดังภาพนี้ใช้จับปลาทรายได้ดี บังแนะนําว่า “เอาไปทอดกรอบกับกระเทียมเจียวอร่อยนักแล” แค่คิดก็หิวแล้วล่ะ

เรื่องเล่าของ “บังวิเชียร”

13

บังวิเชียรลูกทะเลขาร็อค

บังวิเชียร ชาวประมงผู้อัธยาศัยดีคนนี้ ทําให้พวกเราได้รู้จักกับอุปกรณ์การประมงอันเป็นเอกลักษณ์และชีวิตชาวประมงของเขา มากมาย บังเป็นคนที่น่ายกย่องมากคนหนึ่งเลยก็ว่าได้ ระหว่างที่ มือกําลังร้อยลูกตะกั่วตามสูตรเฉพาะของตนนั้น (9 นิ้ว 13 ตา 2 ตะกั่ว) พลางก็ อ ธิ บ ายถึ ง ชี วิ ต กลางทะเลที่ เ มื่ อ ก่ อ นต้ อ งออกไปกั บ พ่ อ แต่ ต อนนี้ เ หลื อ ตั ว คนเดี ย วทํ า งานเหนื่ อ ยเป็ น 3 เท่ า ตั้ ง แต่ เ ย็ บ อวน วาง อวน ยั น สาวอวนขึ้ น ยิ่ ง ช่ ว งไหนมี ล มอดหรื อ คลื่ น โอลน ก็ ยิ่ ง เจ็ บ ใจเพราะเหนื่ อ ยมากแต่ ไ ม่ ไ ด้ ป ลาเลย เพราะลมอดคื อ ลมที่ มี ลั ก ษณะวน ทําให้ปลาหลบลงใต้ทะเลไม่เข้าอวนและคลื่นโอลน จะซัดเอาขยะใต้ทะเลติดมากับอวน บ้างก็เกี่ยวจนอวนขาดต้องคอยซ่อมอ้วนอยู่บ่อยๆ

14

เมือ่ เล่าจบบังวิเชียรก็พาพวกเราไปขึน้ เรือเพือ่ เดินทาง ไปยังเกาะบุโหลนดอนที่มีชาวเลอาศัยอยู ่ นําโดยบังวิเชียรและ บังอัศรีย์ บังอัศรีย์รู้สึกตื่นเต้นทุกครั้งที่ต้องออกทะเลเพราะ ไม่รู้ว่าเราจะเจออะไรข้างหน้านั้น ในวันที่พวกเราเดินทาง ไปเกาะบุโหลนดอนระหว่างระหว่างทางออกสู่ปากอ่าว เต็ม ไปด้วยป่าชายเลนอันเป็นที่พักฟื้นของสัตว์และที่วางไข่ของ สัตว์ต่างๆมีลักษณะเป็นน้ํากร่อยค่อนเค็มจึงยังเป็นจุดที่สัตว์ ทะเลสามารถปรั บ ตั ว อยู่ ไ ด้ ดี พลางบั ง ก็ อ ธิ บ ายถึ ง การพั ด ของลมเพื่ อ ให้ รู้ ว่ า ฤดู ไ หนมี ล มอะไรและจะจั บ ได้ ป ลาชนิ ด ไหนเช่น ลมคะตัล จะพัดวนทําให้นํ้าขุ่นเสีย ลมบัดดาหยา จะมีช่วงปลายปีนําพากุ้งแชบ๊วยมาเยอะ ลมดาหลาจะทําให้ นํ้าใสปลาชอบขึ้นมาเล่นที่ผิวนํ้าและลมปาด ปาดจะทําให้ คลื่นใหญ่แต่พาสัตว์ทะเลมาเยอะทั้งกุ้ง กั้งและปลาหายาก ต่างๆลมดาหลาและปาด ปาดนี้จากเกิดขึ้นในช่วงเดือน 6

15

บังอัศรีย์ ประธานกลุ่มประมงพื้นบ้านผู้รักทะเลยิ่งชีพ

16

ก่อนที่จะเดินทางถึงปากอ่าวเราต้องผ่านป่า ชายเลนอันอุดมสมบูรณ์นี้ไปก่อน สิ่งที่เรียกความ สนใจได้ดีเห็นจะเป็นกระชังปลาตรงหน้านี้ เพราะ มี ลั ก ษณะเป็ น แพยาวหลายกระชั ง ต่ อ กั น ปลาที่ เลี้ยงส่วนใหญ่เป็นปลากระพงขาวซึ่งจะเลี้ยงตาม ธรรมชาติไม่ใช้ยาเร่งใดใด ปลาจึงตัวใหญ่และแข็ง แรงตามวิถีธรรมชาติของมันเอง ส่วนภาพด้านล่าง ซ้ายคือเรือประมงพาณิชย์หรือเรือลากที่ชาวบารา บางส่ ว นยั ง คงทํ า กั น อยู่ อวนลากนี้ แ ม้ จ ะได้ ป ลา เยอะแต่ ก็ เ ป็ น การทํ า ลายธรรมชาติ เ ยอะเช่ น กั น โดยเฉพาะถ้าเรือยิ่งใช้อ้วนตาถี่มากเท่าไหร่ความ อุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติก็จะยิ่งลดลงมากเท่านั้น

หมู่บ้านปลากระพงขาว

17

จากชายฝัง่ ของเกาะบุโหลนดอน ในยามทีท่ อ้ งฟ้าสดใสและบรรยากาศเป็นใจ แสงแดดทีต่ กกระ ทบกับน้าํ ทะเลใสๆ ถึงเวลาทีช่ าวเลบนเกาะจะได้เริม่ ทํางาน ออกเรือเพือ่ ไปหาสัตว์ทะเลต่างๆนานา ใน ผืนท้องทะเลขนาดใหญ่ นี่คือวิถีชีวิตที่น่าสนุกท่ามกลางหมู่มวลสีฟ้าสดใสของผืนฟ้ารวมกับผืนน้ําแห่ง ท้องทะเล.... ณ เกาะบุโหลนดอน

เ ก า ะ บุ โ ห ล น ด อ น

ไม่นานก็ออกจากพืน้ ทีป่ า่ ชายเลนสูน่ า่ นนํา้ ทะเลอันดามัน อันใสสะอาดและอุดมสมบูรณ์ พวกเราเดินทางเพียง 1 ชั่วโมง กว่าสู่จุดหมาย ซึ่งก็คือเกาะบุโหลนดอน ด้วยความสวยงามจาก ธรรมชาติรอบตัวทําให้การเดินทางนีไ้ ม่นา่ เบือ่ และไม่เหน็ดเหนือ่ ย เลยด้วยซํา้ เกาะบุโหลนดอน(ดางาด) เป็นเกาะใหญ่ลาํ ดับสองของ หมู่เกาะบุโหลน ปัจจุบันอยู่ในพื้นที่ดูแลของอุทยานแห่งชาติหมู่ เกาะเภตรา แต่วา่ บนเกาะก็มชี าวชุมชนอาศัยอยูเ่ ป็นชุมชนชาวเล อูรกั ลาโว้ยราว 70 กว่าครัวเรือน ทีเ่ ข้ามาอยูอ่ าศัยจับจองเป็นกลุม่ แรกก่อนประกาศจัดตั้งเป็นอุทยานฯ โดยพวกเขาประกอบอาชีพ ประมงเป็นหลัก

18

ชาวเลบนเกาะบุ โ หลนดอนแห่ ง นี้ มี ภู มิ ปั ญ ญา การหาปลาและเครื่องมือที่เป็นเอกลักษณ์ เช่น ไซปูหรือ ไซหมึกก็จะมีลักษณะคล้ายคลึงกับชาวประมงชายฝั่ง แต่ก็ ยังคงมีความแตกต่างกันอยู่เล็กน้อยด้านรูปแบบ ลักษณะ เครื่องมือ วิธีการวางไซ แม้แต่แหล่งที่วางไซเหล่านี้ โดย เครื่องมือหาปลาที่โดดเด่นที่สุดเห็นจะเป็นลอบปลา ดัง ภาพ ที่มีขนาดสูง 2 เมตรและกว้าง 1.8 เมตร ด้วย โครงสร้างที่ใหญ่นี้ทําให้ยกขึ้นยกลงลําบาก ผู้ใช้จึงต้องมี ทักษะที่เรียนรู้ตกทอดกันมาเข้าช่วย

เวลาจะเอาปลาในลอบต้ อ งดํ า น้ํ า ลงไปเอาเพราะลอบนี้ มั น หนั ก ยก ไม่ ไ ด้ ตอนดํ า ลงไปก็ ต้ อ งใช้ ถั ง ออกซิ เจนช่ ว ย ถั ง ออกซิ เจนในที่ นี้ จึ ง ไม่ ใช่ ภึ ง เหล็ ก เก็ บ กั ก อากาศไว้ ข้ า งในอย่ า งที่ พ วกเราเคยเห็ น กั น ในการดํ า น้ํ า ดู ป ะการั ง ของนั ก ท่ อ งเที่ ย ว แต่ มั น คื อ สายยางเส้ น ใหญ่ แ ละยาวเกื อ บ 10 เมตรที่ ผู้ ใช้ จะต้ อ งหายใจผ่ า นทางท่ อ ยางนี้ ผู้ ที่ มี ค วามสามารถในการดํ า น้ํ า เท่ า นั้ น จึ ง จะ สามารถใช้อุปกรณ์นี้ได้ซึ่งสิ่งนั้นก็แฝงอยู่ในสายเลือดของชาวเลทุกคนที่นี่อยู่แล้ว

19

ลุงตะวัน(ขวามือ) เสือทะเลแห่งเกาะบุโหลนดอน

บุคคลแรกทีเ่ ราได้พบคือลุงตะวัน ชาวเลบนเกาะบุโหลนดอน เราได้พดู คุยกับลุงตะวันเกีย่ วกับการประมงบน เกาะแห่งนี ้ ซึง่ ลุงตะวันกล่าวเป็นนัยว่า เมือ่ โลกของเราเปลีย่ นไปอะไรๆก็เปลีย่ นแปลงตามไปด้วย แต่ลงุ ตะวันกลับยึดมัน่ ในองค์ความรูด้ งั้ เดิมของเขา “เดีย๋ วนีล้ งุ ยังใช้อปุ กรณ์จบั ปู ปลา แบบสมัยก่อนอยูเ่ ลย ไม่อยากเปลีย่ นใหม่เพราะเปลีย่ น ไปต้นทุนก็สงู ขึน้ แล้วกําไรก็ไม่ได้เท่าอุปกรณ์แบบโบราณด้วย” อุปกรณ์ทวี่ า่ นี ้ เช่น อวนปู ไซหมึก เป็นต้น ปูทจี่ บั ได้ของ ทีน่ สี่ ว่ นใหญ่จะเป็นปูมา้ ซึง่ มีให้จบั ทุกฤดู จะมากน้อยเพียงใดขึน้ อยูก่ บั ฤดูกาล โดยเฉพาะหน้ามรสุมหรือช่วงท้ายปีกจ็ ะ มีปเู ยอะเป็นพิเศษ แต่ชว่ งหน้าร้อนกลับจับปูได้ยาก ปูจงึ มีราคาแพงถึงกิโลกรัมละ 270 บาท ลุงตะวันกล่าวด้วยนํา้ โหว่า

“เดี๋ยวนี้นะยิ่งหายาก ไม่ค่อยจะมี ออกเรือไปก็เสียเที่ยว ปู ปลา น้อยกว่าแต่ ก่อนมาก”

แต่กย็ งั เพียงพอต่อการ ยังชีพของตนเองและครอบครัวอยู ่ ภายใต้สภาพความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติทลี่ ดลงเช่น นี้ ลุงตะวันจึงทําได้เพียง ย้ายทําเลไปเรื่อยๆ จนกว่าจะเจอที่ที่สมใจหวัง

20

พี่หทัยชน กสาวแกร่งใจทะเล

21

‘ธง’ ของคู่ไซเครื่องใช้ประจําชาวเล

ไซปู เครื่องมือของกูรูพื้นถิ่น

คนต่อมาคือพี่หทัยชนกแม่ค้าแห่งเกาะบุโหลนดอน ต้อนรับพวกเราด้วยรอยยิ้ม พลางชูหมึกหอมสดๆให้ดู และอธิบาย ว่า “ เมื่อหมึกฟักไข่ออกมา มันจะหุ้มลูกของมันไว้ด้วยเมือกหนาประมาณ 4 ถึง 5 ชั้น เมื่อเราจับได้ก็จะนําไปขาย ไม่รอให้มัน พองตัวเป็นหมึกข้างใน ที่เราทอดกินกันนั้นส่วนใหญ่จะเป็นหมึกกล้วย ซึ่งจะเก็บมาช่วงที่หมึกตั้งไข่ในท้องยังไม่ฟักออกมา มัน เป็นคนละประเภทกัน “สําหรับที่นี่การหาหมึกกล้วยเป็นเรื่องยาก เพราะส่วนใหญ่จะพบที่ทะเลทางชายฝั่งอ่าวไทย มีเพียงหมึก หอม ซึ่งจะได้ราคาดีเป็นพิเศษช่วงหน้าเทศกาล ที่มีทัวร์มาพักตามรีสอร์ท พวกเขาก็จะขายกุ้ง ปู ปลาให้รีสอร์ทนั้นๆได้ตลอด”

22

ระหว่างนี้พี่หทัยชนกก็หยิบปลาหาง แข็งพร้อมปูม้าสดๆ มาย่างให้พวกเราได้ลิ้ม ลองรสชาติความอร่อยนีก้ นั เนือ้ ปูมา้ และปลา หางแข็งจึงหวานเป็นพิเศษ โดยไม่ต้องอาศัย เครือ่ งปรุงใดๆ เพราะธรรมชาติแห่งนีป้ รุงแต่ง ความอร่อยไว้ให้พวกเราโดยพร้อมแล้ว

23

24

บทส่งท้าย

นับแต่วินาทีแรก ที่ได้เข้ามาสู่พื้นที่แห่งนี้... ปากบารา ตําบลปากนํ้า อําเภอละงู จังหวัดสตูล ผู้คนที่นี่ให้อะไรแก่พวกเรามากกว่าแค่รอยยิ้ม และเสียงหัวเราะ พวกเราเริม่ เดินทางตัง้ แต่วนั ที ่ 12 ธันวาคม ถึงจุดหมายด้วยความเหนือ่ ยล้าและตืน่ ตระหนกทีห่ ลงทาง จึงรีบพักผ่อนกันเพือ่ เตรียม ตัวสูก่ ารผจญภัยทีร่ อเราอยูข่ า้ งหน้า เช้าวันที ่ 13 พวกเราได้ทาํ ความรูจ้ กั กับความเป็น “ปากบารา” กันพอสมควร ก็เริม่ เดินทางไปเยีย่ มเยือนบ้านม๊ะ พองและบังวิเชียร อันเป็นที่ที่จุดประกายความสงสัย เกี่ยวกับองค์ความรู้ในการทําประมงของชาวปากบารา ซึ่งนํามาซึ่งบทความฉบับนี้ ชาวบ้านที่ นีต่ อนรับพวกเราด้วยรอยยิม้ และอาหารทีอ่ ดุ มสมบูรณ์ รวมถึง อาหารทีส่ นองความใคร่รขู้ องพวกเราด้วย เพือ่ ให้พวกเราได้เรียนรูภ้ มู ปิ ญ ั ญาอันล้าํ ค่า เหล่านี ้ ทัง้ จากอุปกรณ์การทําประมง เทคนิควิธจี บั ปลา การดูทศิ ทางของน้าํ และลม ตลอดจนแหล่งอาหารและวิธกี ารเอาตัวรอดในธรรมชาติอนั กว้าง ใหญ่ไพศาลนี ้ จากนัน้ พวกเราก็เดินทางไปยังอุทยานหมูเ่ กาะเภตรา ได้พบกับลุงจุก หนึง่ ในชาวประมงวัยกลางคน ทีก่ าํ ลังรอให้นาํ้ ขึน้ เต็มที ่ งเพือ่ เตรียม ตัวออกล่าช่วงพลบคํ่าอีกครั้ง ลุงจุกล่าวว่า ที่นี่เป็นประมงพื้นบ้านซะส่วนใหญ่ บนเรือจึงไม่มีคลื่นโซนาร์ ต้องดูทิศทางจาก การสังเกตเมฆ ลมและหมู่ เกาะให้ดจี ะได้ไม่หลงทาง ส่วนบังจิก๊ ลับกล่าวถึงฤดูกาลทีเ่ หมาะสมแก่การจับปลาแต่ละชนิด ซึง่ มีมากมายนับไม่ถว้ น พวกเราพูดคุยกันจนมืดค่าํ จึงแยก ย้ายกัน เพื่อเตรียมตัวสู่วันรุ่งขึ้น ที่บางอัศรีย์ประธานประมงพื้นบ้างนจะพาพวกเราไปยังเกาะบุโหลนดอน โดยบนเกาะแห่งนี้ม ี “ชาวเล” หรือชาวยา วีที่ใช้ภาษามลายูในการสื่อสารเป็นหลักอยู่ เกาะแห่งนี้ ค่อนข้างเงียบสงบและมีเอกลักษณ์ที่ชัดเจนด้านการทําประมงโดยมีเครื่องมือในการจับปลา เรียกว่า “ลอบ” ขนาดใหญ่กว่า 2 เมตร จําต้องใช้เทคนิคการวางลอบ ที่ได้เรียนรู้มาจากบรรพบุรุษเท่านั้น เพราะต้องอาศัยทั้งความสามารถในการ ดําน้ําความแข็งแกร่งและอีกมากมายเพื่อให้ได้ปลามา พวกเราทําได้เพียงหวังว่าองค์ความรู้เหล่านี้จะยังอยู่คู่กับชาวเล แห่งเกาะบูโหลนดอนนี้ต่อไป ท้ายทีส่ ดุ นี ้ พวกเราอยากขอบคุณบังวิเชียร บังจิ(๊ กลุม่ ผูน้ าํ รักษาแนวปะการัง) บังอัศรีย(์ ประธานประมงพืน้ บ้าน) และชาวบ้านอีกมากมาย ทีท่ าํ ให้พวก เราได้รจู้ กั ธรรมชาติของ“ปากบารา”แห่งนี ้ แม้วา่ การลงภาคสนามครัง้ นีจ้ ะมีทงั้ ความสุขและเหนือ่ ยล้าปนเปกันไป แต่ความทรงจําทีล่ าํ้ ค่าเหล่านีก้ จ็ ะ ยังคงตราตรึงอยู่ในใจพวกเราตลอดไป เช่นเดียวกับผู้ที่ได้อ่านบทความฉบับนี้ เราหวังว่าคุณจะได้รับ “เสียง” แห่งความสุขนี้ไปจากเราไม่มากก็น้อย

26

Lihat lebih banyak...

Comentários

Copyright © 2017 DADOSPDF Inc.